การ ทำ ทะเบียนบ้าน

July 22, 2022, 7:10 pm

เรื่องกฎหมายทะเบียนราษฎร์ กฎหมายเกี่ยวกับทะเบียนราษฎรได้กำหนดระเบียบปฏิบัติในการแจ้งเกิด การแจ้งตาย การย้ายที่อยู่ การจัดทำทะเบียนคนและทะเบียนบ้านพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ. ศ. 2534 เป็นกฎหมายสำคัญที่กำหนดระเบียบปฏิบัติ การแจ้งเกิด การแจ้งตาย การย้ายที่อยู่ การจัดทำทะเบียนคนและทะเบียนบ้าน เป็นกฎหมายที่ใกล้ตัวเกี่ยวข้องกับตนเองและสังคมเป็นอย่างมาก เมื่อคนเกิดมาจะต้องทำอย่างไร เป็นหน้าที่ของใครที่จะแจ้งเกิด ไปแจ้งที่ไหน หรือเมื่อมีคนตายผู้ที่เกี่ยวข้องจะต้องปฏิบัติอย่างไร เมื่อต้องการย้ายที่อยู่จะต้องดำเนินการตามขั้นตอนของกฎหมายอย่างไร 1. คนเกิด 1.

การทําทะเบียนบ้านใหม่

2 การย้ายเข้า เมื่อบุคคลใดย้ายที่อยู่เข้ามาอยู่ในบ้านใดบ้านหนึ่ง กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้านที่จะต้องแจ้งการย้ายเข้าที่อยู่ดังกล่าวภายใน 15 วัน นับแต่วันย้ายเข้า ถ้าเจ้าบ้านไม่แจ้งในกำหนดเวลา มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1, 000 บาท การแจ้งย้ายผู้ใดเข้ามาอยู่ในบ้าน เจ้าบ้านจะต้องนำหลักฐานการย้ายออกของผู้นั้นไปแสดงต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งด้วย 4. การขอแก้ทะเบียนราษฎร ในกรณีที่ทะเบียนคนเกิด ทะเบียนบ้าน หรือเอกสารอื่นใดเกี่ยวกับการทะเบียนราษฎรของบุคคลไม่ตรงกับหลักฐานที่มีอยู่ ให้ไปติดต่ออำเภอหรือเทศบาลแก้ไขเปลี่ยนแปลงให้ถูกต้อง ในการติดต่อทางราชการ เพื่อการนี้ควรนำหลักฐานเอกสารของทางราชการที่มีอยู่ไปแสดง เช่น 1. สูติบัตร มรณบัตร 2. บัตรประจำตัวประชาชน 3. ใบสำคัญทางทหาร 4. เอกสารการสมรา การหย่า 5. สำเนาทะเบียนบ้าน 6. ใบสุทธิ 7. หลักฐานเกี่ยวกับสัญชาติ 8. หนังสือเดินทางมาหรือไปต่างประเทศ 9. หลักฐานอื่นๆ ถ้ามี

ฝ่ายทะเบียน - สำนักงานเขตจตุจักร

คนตาย 2.

บริการงานทะเบียนราษฎร

  1. วันเดียวเท่านั้น! WALK IN ฉีด "โมเดอร์นา"เข็ม 3 ฟรี ที่ศูนย์ฉีดวัคซีนกลางบางซื่อ : PPTVHD36
  2. การทําทะเบียนบ้านใหม่
  3. Bed place โคราช

การเพิ่มชื่อเข้าทะเบียนบ้านเล่มเหลืองสำหรับชาวต่างชาติ

00 น.

2 สถานที่แจ้งตาย 1) สำนักงานเทศบาล 2) สำนักงานเขต การแจ้งตายในกรณีคนตายในบ้าน เป็นหน้าที่เจ้าบ้านแต่จะมอบหมายให้ผู้อื่นที่อยู่ในบ้านเดียวกันไปดำเนินการแทน ไม่ต้องทำหนังสือมอบอำนาจ ถ้าจะมอบให้บุคคลอื่นที่ไม่ได้อยู่ในบ้านเดียวกันไปดำเนินการแทน ต้องทำหนังสือมอบอำนาจเป็นลายลักษณ์อักษร การแจ้งตายในกรณีคนตายในบ้าน และผู้นั้นมีชื่อยู่ในทะเบียนบ้านด้วย เมื่อไปแจ้งต้องต้องนำสำเนาทะเบียนฉบับเจ้าบ้านไปด้วย และเมื่อนายทะเบียนได้รับแจ้งการตายจะมอบมรณบัตรให้แก่ผู้แจ้งเป็นหลักฐานมรณบัตร เป็นเอกสารสำคัญของทางราชการ ซึ่งเป็นหลักฐานแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการตายของบุคคล 3. การย้ายที่อยู่ การย้ายที่อยู่จะต้องมีการแจ้งการย้ายออกจากทะเบียนบ้านเดิม แล้วจะต้องแจ้งย้ายเข้าในทะเบียนบ้านใหม่ซึ่งผู้นั้นย้ายไปอยู่ การแจ้งย้ายที่อยู่ให้ดำเนินการต่อไปนี้ 3. 1 การย้ายออก เมื่อมีบุคคลใดบ้ายที่อยู่ออกจากบ้านใด กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของเจ้าของบ้าน หรือผู้แทนที่จะต้องแจ้งย้ายที่อยู่ดังกล่าวต่อนายทะเบียนผู้มีหน้าที่รับแจ้งภายในเวลาไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันย้ายออก ถ้าเจ้าบ้านไม่แจ้งภายในกำหนดเวลา มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 1, 000 บาท 3.

บัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน ของคู่หย่า 2. ใบสำคัญการสมรสหรือสำเนาทะเบียนสมรส 3. หนังสือสัญญาหย่า (กรณีจดทะเบียนหย่าโดยความยินยอม) 4. สำเนาคำพิพากษาถึงที่สุดและคำรับรองว่าถูกต้อง (กรณีจดทะเบียนหย่าตามคำพิพากษาศาล 5. พยานบุคคลพร้อมบัตรประจำตัวประชาชน 2 คน การเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อรอง และการจดทะเบียนชื่อสกุล ผู้ร้องจะต้องยื่นคำร้องต่อนายทะเบียนท้องที่ ณ แห่งที่ผู้ร้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน 1. สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านของผู้ร้อง 2. บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ร้อง 3. ใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว (กรณีผู้ร้องเป็นคนต่างด้าว) และหลักฐานคำขอแปลงสัญชาติ หรือขอกลับคืนสัญชาติไทย งานทะเบียนราษฎร การแจ้งการเกิด กรณีเกิดในโรงพยาบาล ให้เจ้าหน้าที่ของสถานพยาบาล แจ้งการเกิดภายใน 15 วัน นับแต่วันที่เด็กเกิดที่งานทะเบียนราษฎรของสำนักงานเขตแห่งท้องที่ที่สถานพยาบาลตั้งอยู่ 1. บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งการเกิด 2. หนังสือรับรองการเกิด (ทร. 1/1) ที่สถานพยาบาลออกให้ 3. ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน หรือทะเบียนบ้านบิดามารดา การแจ้งการตาย กรณีมีคนตายในสถานพยาบาล ให้เจ้าบ้านของสถานพยาบาล หรือบุคคลที่เจ้าบ้านมอบหมายแจ้งการตายภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เวลาตาย 1.

บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งการตายหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย 2. บัตรประจำตัวประชาชนของคนตาย (ถ้ามี) 3. หนังสือรับรองการตาย (ท. ร. 4/1) ที่สถานพยาบาลออกให้ 4. สำเนาทะเบียนบ้าน (ฉบับเจ้าบ้าน) ที่คนตายมีชื่อ (ถ้ามี) การแจ้งย้ายที่อยู่ การแจ้งย้ายออก ให้เจ้าบ้านของบ้านที่มีคนย้ายออก แจ้งการย้ายออกภายใน 15 วัน นับแต่วันที่คนย้ายออกจากบ้าน 1. บัตรประจำตัวประชาชนของเจ้าบ้านและสำเนาถูกต้อง 2. หนังสือมอบหมายของเจ้าบ้าน (กรณีไม่มาด้วยตนเอง) พร้อมบัตรตัวจริงเจ้าบ้าน 3. บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งในฐานะผู้รับมอบหมายและสำเนาถูกต้อง 4. สำเนาทะเบียนบ้าน (ฉบับเจ้าบ้าน) ที่คนย้ายออกมีชื่ออยู่ การแจ้งย้ายเข้า ให้เจ้าบ้านของบ้านที่มีคนย้ายเข้า แจ้งการย้ายเข้าภายใน 15 วัน นับแต่วันที่ผู้นั้นเข้าอยู่ในบ้าน 3. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่ (ท. 6) ตอน 1 และตอน 2 4. สำเนาทะเบียนบ้าน (ฉบับเจ้าบ้าน) ที่จะย้ายชื่อเข้าไปอยู่ 5. หนังสือมอบหมายของเจ้าบ้าน (กรณีไม่มาด้วยตนเอง) การแจ้งย้ายที่อยู่ปลายทาง ยื่นเอกสารหลักฐานที่งานทะเบียนราษฎรของสำนักทะเบียนท้องที่ที่จะย้ายเข้าแห่งเดียว โดยไม่ต้องกลับไปแจ้งการย้ายออก ณ สำนักทะเบียนที่บ้านเดิมตั้งอยู่ 1.

  1. ร้อน เงิน อมตะ นคร
  2. โยคะ ลด แขน
  3. ผ้าปูที่นอน 6 ฟุต ikea